Menu
หน้าหลัก
เกี่ยวกับคณะ
หลักสูตรการศึกษา
ประวัติความเป็นมา
ปรัชญาและปณิธาน
โครงสร้างการบริหารงาน
คณะผู้บริหาร
บุคลากร
แผนที่ตั้งสำนักงานคณะ
ติดต่อสอบถาม
หลักสูตร
เกษตรศาสตร์
พืชสวน
พืชไร่
อารักขาพืช
ปฐพีศาสตร์
การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร
เกษตรเคมี
การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน
วิทยาการสมุนไพร
การจัดการและพัฒนาทรัพยากร
หน่วยงานคณะ
งานบริการวิชาการและวิจัย
งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
งานนโยบาย แผน และประกันคุณภาพ
วิเทศสัมพันธ์
ห้องสมุด
สโมสรนักศึกษา
หน่วยงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ระบบสมาชิก
(สำหรับเจ้าหน้าที่)
Username :
Password :
บริการคณะ
ปฏิทินกิจกรรมคณะ ฯ
ปฏิทินการดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์
ระบบจัดเก็บข่าวหนังสือพิมพ์
กำหนดการปฏิบัติงานของรองคณบดี
รองคณบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์
รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาเครือข่ายและกิจการพิเศษ
ผู้ช่วยคณบดี (อ.ดร.วงค์พันธ์ พรหมวงศ์)
ปฏิทินห้องประชุม อาคารรัตนโกสินทร์ 200 ปี
ปฏิทินการใช้ห้องประชุมและห้องบรรยาย
ชั้น 1 อาคารพืชศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกสารและแบบฟอร์ม
คำสั่ง / ประกาศ
บทความวิชาการ/วิจัย ของนักศึกษา
ข้อมูลบุคลากร คณะผลิตกรรมการเกษตร
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการระดับคณะ
Think Tank(คลังสมอง) คณะผลิตกรรมการเกษตร
แผนปฏิบัติการคณะผลิตกรรมการเกษตร
เอกสารความรู้ของงานพัสดุ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
ผลงานวิจัยชั้นเรียน
รายงานการใช้ยานพาหนะ
ร้านค้าที่คณะฯ สั่งซื้อวัสดุ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
สำหรับนักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษาควรรู้
สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ
เว็บไซต์งานทะเบียน
ฝ่ายบัณฑิตศึกษา
กิจกรรมและผลงาน -> หน้าหลักคณะ
- นายพีรพันธ์ ทองเปลว นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร พร้อมด้วย Mr.Obiad Bhat นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรวิศกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศกรรมพลังงานทดแทน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นตัวแทนเข้าร่วมโครงการ UC Summer School 2023 หัวข้อ "Sustainability of Agricultural Systems in Difficult Environments” ภายใต้การสนับสนุนของ Southeast Asian University Consortium for Graduate Education in Agriculture and Natural Resources (UC), TALENT programme on Sustainable Landscape Management ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 4 สิงหาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร และ วิทยาเขตบางเขน สำหรับในการฝึกอบรมครั้งนี้เป็นการพัฒนาตัวแทนนักศึกษาและตัวแทนคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยในภาคีเครือข่าย UC ทั้งจากประเทศไทย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ไต้หวัน และญี่ปุ่น ในด้านการศึกษาความยั่งยืนของระบบเกษตรในสภาวะที่มีข้อจำกัดสูง โดยผู้เชี่ยวชาญจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ L'Institut Agro Montpellier สาธารณรัฐฝรั่งเศส โดยใช้ระบบการปลูกพืชยางพารา และระบบเกษตรอื่น ๆ ในพื้นที่จังหวัดสกลนครเป็นกรณีศึกษา ซึ่งเป็นการบูรณาการศาสตร์ทั้งด้านการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐศาสตร์ และองค์ความรู้ต่าง ๆ มาใช้ในการพัฒนาการศึกษาด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อไป
ผู้บันทึก น.ส.เขมินทรา ติ๊บปัญญา ลงเมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม เวลา 19:27 น.
1
หน้าที่ 1
1